จำหน่ายและติดตั้ง กล้องวงจรปิด CCTV FUJIKO KENPRO SAMSUNG PELCO PANASONIC LG WATASHI บริการดูหน้างานประเมินราคาฟรีถึงที่ สอบถามรายละเอียดได้ที่ เลขที่ 200 ซอยบรมราชชนนี 70 ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กทม. 10170

 
โทร. 02-888-3507-8,  081-700-4715

Fax กล้องวงจรปิด cctv dvr ip camera แฟ็กซ์. 02-888-3199   E-mail กล้องวงจรปิด cctv dvr ip camera E-mail : Krittiwit@gmail.com

กล้องวงจรปิด cctv facebook icon
promotion kenpro

 

กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานของประเทศไทย

 

โดยที่ประเทศไทยได้ร่วมเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การกรรมกรระหว่างประเทศ (ILO = International Labour Organization) ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2462 ด้วยประเทศหนึ่งทำให้รัฐบาลต้องดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐบาลไทยจึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณากฎหมายอุตสาหกรรม เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของคนงานในปีพ.ศ.2470 แต่ไม่ได้ดำเนินการร่างหรือประกาศใช้แต่อย่างใด

cctv                กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานของประเทศไทย

พ.ศ.2471 : ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือผาสุกแห่งสาธารณชน”

พ.ศ.2477 : ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติสาธารณสุข พุทธศักราช 2477”

พ.ศ.2482 : หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มีการตื่นตัวในเรื่องแรงงานและความปลอดภัยในการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมอย่างมาก จึงได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2482” ขึ้น ซึ่งกำหนดมาตรฐานของการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขอนามัยของลูกจ้าง พระราชบัญญัติโรงงานฉบับนี้ได้กำหนดเงื่อนไขในการขอตั้งและประกอบกิจการโรงงานว่าจะต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดและความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน ความปลอดภัยในการติดตั้งเครื่องจักรกล อุปกรณ์ตลอดจนระบบไฟฟ้า การป้องกันอันตรายจากวัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด เป็นต้น กฎหมายนี้ยังบังคับแก่ “เจ้าของโรงงาน” หรือ “ผู้ประกอบกิจการโรงงาน” ต้องทำรายงานการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานทุกครั้งและแจ้งให้กระทรวงอุตสาหกรรมทราบด้วย

cctv                กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานของประเทศไทย

พ.ศ.2484 : ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติสาธารณสุข” ซึ่งมีบทบัญญัติเกี่ยวกับแสงสว่างการระบายอากาศ น้ำดื่ม ห้องน้ำ และสุขภัณฑ์ การกำจัดมูลฝอยและการป้องกันอันตรายจากวัตถุมีพิษ

พ.ศ.2499 : ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร”

พ.ศ.2501 : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสนใจงานอาชีวอนามัยได้ส่งผู้แทนไปประชุมงานอาชีวอนามัยระหว่างประเทศที่เมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย

<

cctv                กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานของประเทศไทย

พ.ศ.2502 – พ.ศ.2507 : กรมอนามัยได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปศึกษาดูงานด้านอาชีวอนามัยที่ประเทศอินเดีย ประเทศอังกฤษ และประเทศอื่นๆ ในยุโรป

พ.ศ.2512 : ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512” โดยกระทรวงอุตสาหกรรม (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) เป็นผู้ปฏิบัติและบังคับใช้ “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512” และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใน พ.ศ.2518 (ฉบับที่ 2) ได้บัญญัติถึงการรายงานการเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน หน้าที่ของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการในการป้องกันอุบัติเหตุอันตรายต่อคนงาน หลักเกณฑ์และมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล ไฟฟ้า แสงสว่าง อาคารโรงงาน สถานที่ทำงาน การระบายอากาศ การติดตั้งกล้องวงจรปิด การกำจัดน้ำทิ้ง การป้องกันอัคคีภัย ตลอดจนการให้คนงานใช้เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลชนิดต่างๆ ด้วย เป็นต้น ต่อมาได้ออก “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512” (ฉบับที่ 3) เมื่อ พ.ศ.2522

พ.ศ.2528 : กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทยได้ออกประกาศของกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทำงาน ซึ่งระบุว่า นายจ้างที่มีลูกจ้างในสถานประกอบการของตนตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป จะต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (Safety Officer) เพื่อทำหน้าที่สำคัญ 6 ประกาศ เกี่ยวกับอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานนับว่าเป็นกฎหมายที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางและมีผลทางปฏิบัติที่มีความสำคัญมากฉบับหนึ่ง

พ.ศ.2535 : กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535” โดยยกเลิก “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512” ทั้งหมด กฎหมายว่าด้วยโรงงานฉบับใหม่นี้มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการอนุญาตโรงงาน การกำกับดูแลโรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มลพิษและสิ่งแวดล้อมและบทลงโทษ

 

 

 

 

 

 

 

 

line

ติดตามข่าวสารที่ LINE : @cctcbangkok.com

 


FUJIKO CCTV


KENPRO CCTV

PANASONIC CCTV


HIKVISION CCTV

บริษัท มีเดีย เสิร์ซ จำกัด เลขที่ 200 ซอยบรมราชชนนี 70 ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กทม. 10170
Tel. 02-888-3507-8 Fax. 02-888-3199 E-mail: krittiwit@gmail.com
www.MediaSearch.co.th | www.CctvBangkok.com