หน่วยราชการในประเทศที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุอันตรายและความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิดในการทำงานมีอยู่หลายหน่วยงาน ซึ่งเน้นหนักไปคนละด้าน ได้แก่
1.กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
กฎหมายหลัก คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน(กล้องวงจรปิด) พ.ศ.2541มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน คือ ให้ผู้รับจ้างหรือคนงานในสถานประกอบการต่างๆ ได้มีสุขอนามัยดี มีความปลอดภัย และมีสวัสดิภาพภาพในการทำงานรวมทั้งให้มีความสัมพันธ์อันดีและความเป็นธรรมระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างช่างกล้องวงจรปิดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการร่างกฎหมายแรงงานเป็นกฎกระทรวงหรือประกาศกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงานและการป้องกันอุบัติเหตุในสถานประกอบการ โดยมีสารวัตรแรงงานดูแลให้มีการประกอบการตามกฎหมาย
2.กระทรวงอุตสาหกรรม
กฎหมายหลัก คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน คือ ให้ผู้รับจ้างหรือคนงานในสถานประกอบการต่างๆ ได้มีสุขอนามัยดี มีความปลอดภัย และมีสวัสดิภาพภาพในการทำงาน รวมทั้งให้มีความสัมพันธ์อันดีและความเป็นธรรมระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างช่างกล้องวงจรปิดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการร่างกฎหมายแรงงานเป็นกฎกระทรวงหรือประกาศกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงานและการป้องกันอุบัติเหตุในสถานประกอบการ โดยมีสารวัตรแรงงานดูแลให้มีการประกอบการตามกฎหมาย
• กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
มีหน้าที่ในการตรวจโรงงานเพื่อพิจารณาอนุญาตให้ตั้งและประกอบกิจการโรงงาน การป้องกันอุบัติเหตุอันตรายหรือเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องมาจากเครื่องจักรกล อุปกรณ์ไฟฟ้า กล้องวงจรปิด หม้อไอน้ำ การดูแลรักษาและการใช้วัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไฟไว วัตถุระเบิด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน ตลอดจนการจัดให้ถูกลักษณะอนามัยด้วย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นผู้ถือใช้และปฏิบัติการให้เป็นไปตาม “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535” และ “พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535” โดยมีพนักงานเจ้าหน้าที่ (วิศวกรตรวจโรงงาน) ทำหน้าที่ตรวจโรงงานรวมทั้งการสั่งการให้โรงงานแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องตามกฎหมาย
• กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม
มีหน้าที่ฝ่ายสวัสดิภาพสำหรับควบคุมดูแลเรื่องสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพเหมืองแร่เพื่อให้ความคุ้มครองแก่คนงาน โดยให้ผู้ถือประทานบัตรผู้รับใบอนุญาตทำเหมืองชั่วคราวและผู้รับใบอนุญาตแต่งแร่รับผิดชอบในการป้องกันอุบัติเหตุ และจัดให้คนงานในเขตเหมืองแร่มีความปลอดภัยในการทำงาน
3.กระทรวงสาธารณสุข
กฎหมายหลัก คือ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2535 มีหน้าที่และรับผิดชอบเกี่ยวกับงานอาชีวอนามัยโดยดำเนินงานและให้บริการเพื่อดูแลสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม เหมืองแร่ ป่าไม้ เป็นต้น ให้มีสุขภาพอนามัยดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ
4.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กฎหมายหลัก คือ พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 มีหน้าที่เกี่ยวกับวิชาการด้านเกษตรศาสตร์ ควบคุมการเก็บรักษาและการใช้วัตถุมีพิษ ยาฆ่าแมลงในงานเกษตรกรรมและการสาธารณสุข เพื่อให้เกษตรกรหรือผู้เกี่ยวข้องได้มีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี
ติดตามข่าวสารที่ LINE : @cctcbangkok